1. คอร์สการถ่ายภาพเบื้องต้นถึงระดับกลาง ด้วยกล้อง Mirrorless หรือ DSLR
ค่าอบรม 1,900 บาท/ท่าน (เน้นภาคปฏิบัติเป็นหลัก เรียน 4-5 ชั่วโมง)
และเหมาะกับผู้เริ่มต้นที่พึ่งซื้อกล้องแต่ยังใช้งานยังไม่เป็น โดยไม่รู้ว่าแต่ละปุ่มใช้งานอย่างไร ในสถานะการต่างๆ
ตารางการเปิดเรียนของเดือน ต.ค.-พ.ย. 2567
การันตีคุณภาพการสอน เข้าสู่ปีที่ 13 (2567)
เปิดทุกสัปดาห์ (เดินทางสะดวกใกล้รถไฟฟ้า MRT)
วันจันทร์, อังคาร, พุธ, พฤหัสบดี, ศุกร์, เสาร์, อาทิตย์
หยุดแค่วันจันทร์ของบางสัปดาห์
รอบเช้า 9.00 น. รอบบ่าย 14.00 น.
*หากต้องการเรียนแบบ Private (ที่ Office ตากล้องหรือนัดข้างนอก)
สอบถามราคากับเจ้าหน้าที่ได้ค่ะ
สอบถามหรือจองวันเรียนได้ทุกวัน จาก 2 เว็บไซต์
หรือให้ทำการเพิ่มเพื่อนใน Line ด้วยเบอร์โทร 093-043-2922
(หากยังไม่มีกล้อง สามารถแจ้งให้จัดเตรียมไว้ให้ได้ โดยไม่มีค่าใช้จ่าย)
(หากยังไม่มีกล้อง สามารถแจ้งให้จัดเตรียมไว้ให้ได้ โดยไม่มีค่าใช้จ่าย)
คอร์สถ่ายภาพเบื้องต้นถึงระดับกลาง เนื้อหาเริ่มต้นตั้งแต่พื้นฐานการใช้งานกล้อง ไปจนถึงระดับที่ใช้ทำงานจริงเหมือนมืออาชีพใช้งาน เหมาะกับผู้ที่พึ่งเริ่มต้นใช้งานและกลุ่มที่มีพื้นฐานมาแล้ว แต่ยังพบปัญหาจากถ่ายภาพไม่ได้ผลลัพธ์ดีเท่าที่ต้องการ ซึ่งจะเป็นการเรียนการใช้งานคำสั่งต่างๆ รวมทั้งเข้าใจการทำงานทุกฟังก์ชั่นของกล้องทุกรุ่นที่นำมาเรียนได้อย่างถูกต้อง และสามารถนำไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆได้อย่างรวดเร็วและเหมาะสม
เนื้อหาการเรียนเน้นฝึกจัดการตั้งค่าหรือกำหนดค่าที่มีความจำเป็นในการถ่ายภาพ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามโจทย์ที่ต้องการ เช่น การวางองค์ประกอบภาพคนและวิว การกำหนดจุดโฟกัสเพื่อควบคุมจุดชัด การกำหนดค่าความสว่างจากค่า ISO, SPEED, F ให้ทำงานร่วมกันเพื่อให้ได้ความสว่างที่พอดีในแต่ละรูป การใช้งานโหมดต่างๆของกล้อง (M,A,S,P) การวัดแสง การชดเชยแสง การจัดการโทนสีผ่าน White Balance, Creative Style รวมถึงการจัดการเวลามีแสงน้อยหรือที่มืด การหยุดวัตถุ การละลายฉากหลัง การสั่งให้ชัดทั้งภาพ และการจัดการกับความคมชัด และเทคนิคอื่นๆ
** ระบบกล้องทุกรุ่น ทุกยี่ห้อ มีคำสั่งเหมือนกัน ใช้งานเหมือนกัน เพียงแต่มีระบบเมนูหรือตำแหน่งปุ่ม ต่างกันไปบ้างเล็กน้อย แต่คุณภาพรูปมีความแตกต่างกับบ้างตามราคากล้อง และมักมีฟังก์ชั่นใหม่เพิ่มเติมเข้ามาในรุ่นที่ออกใหม่ล่าสุด
ซึ่งในแต่ละรอบของการเรียนการสอน เน้นให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติไปด้วยในแต่ละหัวข้อ เน้นผู้เรียนกลุ่มเล็กเพื่อให้ผู้เรียนสามารถสอบถามแบบใกล้ชิดกับอาจารย์ผู้สอน จึงมั่นใจได้ว่า ท่านจะเข้าใจหลักการถ่ายภาพและหลักการใช้งาน รวมทั้งวิธีการใช้งานกล้อง DSLR ของท่านได้อย่างครบถ้วน และไปใช้งานจริงได้อย่างถูกต้อง
เนื้อหาการเรียนเน้นฝึกจัดการตั้งค่าหรือกำหนดค่าที่มีความจำเป็นในการถ่ายภาพ เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามโจทย์ที่ต้องการ เช่น การวางองค์ประกอบภาพคนและวิว การกำหนดจุดโฟกัสเพื่อควบคุมจุดชัด การกำหนดค่าความสว่างจากค่า ISO, SPEED, F ให้ทำงานร่วมกันเพื่อให้ได้ความสว่างที่พอดีในแต่ละรูป การใช้งานโหมดต่างๆของกล้อง (M,A,S,P) การวัดแสง การชดเชยแสง การจัดการโทนสีผ่าน White Balance, Creative Style รวมถึงการจัดการเวลามีแสงน้อยหรือที่มืด การหยุดวัตถุ การละลายฉากหลัง การสั่งให้ชัดทั้งภาพ และการจัดการกับความคมชัด และเทคนิคอื่นๆ
** ระบบกล้องทุกรุ่น ทุกยี่ห้อ มีคำสั่งเหมือนกัน ใช้งานเหมือนกัน เพียงแต่มีระบบเมนูหรือตำแหน่งปุ่ม ต่างกันไปบ้างเล็กน้อย แต่คุณภาพรูปมีความแตกต่างกับบ้างตามราคากล้อง และมักมีฟังก์ชั่นใหม่เพิ่มเติมเข้ามาในรุ่นที่ออกใหม่ล่าสุด
ซึ่งในแต่ละรอบของการเรียนการสอน เน้นให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติไปด้วยในแต่ละหัวข้อ เน้นผู้เรียนกลุ่มเล็กเพื่อให้ผู้เรียนสามารถสอบถามแบบใกล้ชิดกับอาจารย์ผู้สอน จึงมั่นใจได้ว่า ท่านจะเข้าใจหลักการถ่ายภาพและหลักการใช้งาน รวมทั้งวิธีการใช้งานกล้อง DSLR ของท่านได้อย่างครบถ้วน และไปใช้งานจริงได้อย่างถูกต้อง
ทางเรามีเอกสารประกอบการเรียนโดยเป็นการสรุปรายละเอียดในทุกเนื้อหาไว้ให้ พร้อมทั้งอุปกรณ์สำหรับทำ Workshop ในแต่ละหัวข้อ เพื่อให้เรียนสนุกไม่น่าเบื่อ และนำเสนอเนื้อหาภาคทษฎีและมีรูปภาพตัวอย่างประกอบทุกหัวข้อ ผ่านทางหน้าจอขนาดใหญ่ โดยมีประสบการณ์การสอนมายาวนาน การันตีสถาบันที่เปิดสอนอย่างต่อเนื่องก้าวเข้าสู่ปีที 13 (2554-2567)
รุ่นกล้อง Mirrorless
กล้อง Canon
(EOS M50, M100, M200)
(EOS R50, R100 ,R10 ,R7)
(EOS RP, R5, R6, R8)
กล้อง Sony
(a5100, a6000, a6100, a6400, a6500, a6600, a6700)
(ZV-1, ZV-1 II, ZV-1F, ZV-E10, ZV-E1)
(a7 II, a7 III, a7 IV, a7C, a7C II, a7s)
กล้อง Fuji
(X-A2, X-A3, X-A5, X-A7, X-A10, X-A20)
(X-E2, X-E3, X-E4, X-E5, X100V, X100F,
X100VI)
(X-T100, X-T200, X-T10, X-T20, X-T30)
(X-T1, X-T2, X-T3, X-T4, X-T5, X-S10, X-S20)
(X-H2, X-H2S, GFX 100S, GFX 50S II)
กล้อง Olympus
(OM-D E-M5, OM-D E-M10, OM-D E-M1, PEN-F, OM-5, OM-1)
กล้อง Nikon
(Nikon Z50, Z5, Z6, Z7, Z8, Z9, Z fc)
กล้อง Leica
(Leica Q, Leica Q2, Leica-M10, Leica D-Lux, Leica M6, Leica M11)
กล้อง Panasonic
(Lumix DC-S1R, DC-GH5, DC-S5, G9, G9 II, DC-GH5, DC-G95/G90, DMC-GX9, LX100, DC-G100, DC-FZ1000)
รุ่นกล้อง DSLR
กล้อง Canon
(100D, 200D, 1000D, 1100D, 1200D, 1300D, 1500D, 3000D)
(Canon 550D, 600D, 650D, 700D, 750D, 760D, 800D, 850D)
(Canon 60D, 70D, 77D, 80D, 90D, 7D, 5D, 6D, 1D)
กล้อง Nikon
(Nikon D5300-D5600, D7200-D7500, D750, D780, D800,D850)
หัวข้อและเนื้อหา
- เปรียบเทียบความแตกต่างและเรียนรู้ข้อดีข้อเสียระหว่างกล้องประเภท Mirrorless และ DSLR
- เรียนรู้การจำแนกคุณภาพกล้องตาม ขนาดเซ็นเซอร์กล้อง
(Full Frame, APS-C, Micro Four Thirds หรือ 4/3)
(Full Frame, APS-C, Micro Four Thirds หรือ 4/3)
- เรียนรู้การ การวางองค์ประภาพในการถ่ายภาพวิว ร่วมกับการซูม LENS แบบต่างๆให้มีความน่าสนใจ
เช่น กฏ 3 ส่วน, กฏสร้างกรอบภาพ, กฏสมมาตร และภาพตัวอย่างแบบต่างๆ
เช่น กฏ 3 ส่วน, กฏสร้างกรอบภาพ, กฏสมมาตร และภาพตัวอย่างแบบต่างๆ
- เรียนรู้การ การวางองค์ประภาพในการถ่ายภาพคน ร่วมกับชนิด LENS ที่เหมาะกับการถ่ายคน
เช่น กฏ 9 ช่อง, กฏ 3 ส่วน, กฏเส้นนำสายตา และภาพตัวอย่างแบบต่างๆ
เช่น กฏ 9 ช่อง, กฏ 3 ส่วน, กฏเส้นนำสายตา และภาพตัวอย่างแบบต่างๆ
- เรียนรู้การเลือกตัด สัดส่วนร่างกายคนในภาพ ให้เหมาะสมเมื่อถ่ายภาพคน ตอนถ่ายภาพคนแบบครึ่งตัวหรือเต็มตัว
ในกรณีนั่งหรือยืน รวมทั้งสัดส่วนร่างกายคนในภาพแนวตั้งและภาพแนวนอน ให้ได้ภาพคนออกมาดูสวยงาม
ในกรณีนั่งหรือยืน รวมทั้งสัดส่วนร่างกายคนในภาพแนวตั้งและภาพแนวนอน ให้ได้ภาพคนออกมาดูสวยงาม
- ทำความรู้จัก ประเภทของ LENS ทางยาวโฟกัส ระยะเลนส์ ทั้งหมด
(Ultra-Wide, Wide, Normal, Telephoto, Super Telephoto, Fish Eye, Macro, Portrait)
(Ultra-Wide, Wide, Normal, Telephoto, Super Telephoto, Fish Eye, Macro, Portrait)
- การเลือกใช้งาน LENS และคุณสมบัติของ LENS แต่ละชนิด รวมทั้งมุมภาพที่ได้ เพื่อให้สามารถเลือกใช้ใด้เหมาะสมกับงาน
(Ultra-Wide, Wide, Normal, Telephoto, Super Telephoto, Fish Eye, Macro, Portrait)
(Ultra-Wide, Wide, Normal, Telephoto, Super Telephoto, Fish Eye, Macro, Portrait)
- การเลือกใช้ ระบบโฟกัส แบบต่างๆใด้อย่างถูกต้อง (ระบบ Auto Focus, Manual Focus, Single Focus หรือ 1 Point)
ซึ่งเป็นระบบที่ช่วยระบุบริเวณที่ต้องการไห้ชัดที่สุดในภาพ อย่างเช่น ใบหน้าคน หรือวัตถุที่เด่นที่สุดในภาพ
ซึ่งเป็นระบบที่ช่วยระบุบริเวณที่ต้องการไห้ชัดที่สุดในภาพ อย่างเช่น ใบหน้าคน หรือวัตถุที่เด่นที่สุดในภาพ
- การเลือกใช้ โหมดโฟกัส ของกล้องส่วนใหญ่ (AF-S, AF-A, AF-C) หรือของ Canon (ONE SHOT, AI FOCUS, SERVO)
โดย โหมดโฟกัส แต่ละแบบจะทำงานร่วมกับ ระบบโฟกัส เพื่อช่วยให้บริเวณที่ถูกกำหนดไว้แล้ว ได้ความชัดสูงที่สุดในภาพ
โดย โหมดโฟกัส แต่ละแบบจะทำงานร่วมกับ ระบบโฟกัส เพื่อช่วยให้บริเวณที่ถูกกำหนดไว้แล้ว ได้ความชัดสูงที่สุดในภาพ
- เรียนรู้เทคนิคการ ล็อคโฟกัส ที่ช่วยกำหนดจุดที่ชัดที่สุด ให้สามารถย้ายไปตำแหน่งต่างๆในภาพได้สะดวกยิ่งขึ้น
ในระหว่างทำการจัดองค์ประกอบภาพตอนถ่ายภาพคนหรือวิว
ในระหว่างทำการจัดองค์ประกอบภาพตอนถ่ายภาพคนหรือวิว
- เรียนรู้การการตั้งค่า ISO (ค่าความไวแสง) เพื่อเพิ่มความสว่างที่เหมาะสมกับสถานะการณ์ต่างๆ ตามช่วงเวลา
คือ ช่วงกลางวัน ช่วงเย็น ช่วงกลางคืน ในตึกหรือห้องประชุม และยังคงได้ภาพสว่างและยังได้ภาพคมชัด
คือ ช่วงกลางวัน ช่วงเย็น ช่วงกลางคืน ในตึกหรือห้องประชุม และยังคงได้ภาพสว่างและยังได้ภาพคมชัด
- แนวทางในการตั้งค่า ISO (ค่าความไวแสง) เพื่อป้องกันปัญหาการเกิิด Noise ในภาพ (ภาพแตกไม่มีคุณภาพ)
- เรียนรู้การการตั้งค่า Speed Shutter ที่ถูกต้องเพื่อช่วยเพิ่มความสว่างในภาพ ร่วมกับค่า ISO
- เรียนรู้การการตั้งค่า Speed Shutter ที่ถูกต้องในสถานการณ์ต่างๆ เช่น การหยุดวัตถุที่กำลังเคลื่อนไหว
การถ่ายภาพ
น้ำตกเป็นสายน้ำ การถ่ายภาพรถวิ่งเป็นเส้นไฟยาวต่อเนื่องกันในตอนกลางคืน การถ่ายภาพดาวตอนกลางคืน
น้ำตกเป็นสายน้ำ การถ่ายภาพรถวิ่งเป็นเส้นไฟยาวต่อเนื่องกันในตอนกลางคืน การถ่ายภาพดาวตอนกลางคืน
- เรียนรู้การการตั้งค่า Speed Shutter ร่วมกับ การถ่ายภาพรัวแบบหลายซ็อต ถ่ายภาพแบบตั้งเวลา
- เรียนรู้การการตั้งค่า รูรับแสง F (Aperture) ที่ถูกต้องเพื่อช่วยเพิ่มความสว่างในภาพ ร่วมกับค่า ISO, Speed Shutter
- เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่าง LENS แต่ละรุ่นที่วางขาย กับค่า รูรับแสง F (Aperture) และวิธีดูค่าเริ่มต้นของค่า รูรับแสง F
ของเลนส์แต่ละแบบ รวมทั้งเข้าใจการแบ่งประเภทของ LENS Fix และ LENS F ไหล
ของเลนส์แต่ละแบบ รวมทั้งเข้าใจการแบ่งประเภทของ LENS Fix และ LENS F ไหล
- เรียนรู้การการตั้งค่า รูรับแสง F (Aperture) กับการถ่ายภาพหน้าชัดหลังเบลอ (ภาพชัดตื้น)
- เรียนรู้การการตั้งค่า รูรับแสง F (Aperture) กับการถ่ายภาพวิวหรือภาพหมู่ให้ชัดทั้งภาพ (ภาพชัดลึก)
- เรียนรู้การถ่ายภาพด้วย โหมด M ซึ่งเป็นโหมดที่มีความสารพัดประโยชน์ ทำได้ทุกโจทย์ด้วยโหมดเดียว และเป็นโหมดที่
สามารถเชื่อมและสั่งงานอุปกรณ์เสริมอย่าง ไฟ Studio และแฟลชแยก ได้ดีมากๆ แต่ โหมด M เป็นโหมดที่เราต้องตั้งค่า
ที่เกี่ยวกับความสว่างทั้ง 3 ค่าของกล้องเอง คือ 1. ค่า ISO (ค่าความไวแสง), 2. ค่า Speed Shutter, 3. ค่า รูรับแสง F
โดยมี มาตรวัดแสดงความสว่าง ช่วยให้สามารถตั้งค่าได้สว่างถูกต้องก่อนจะกดถ่าย
แต่จะมีระบบช่วยเหลือเราในตอนถ่ายน้อยกว่าโหมดอื่นๆ
สามารถเชื่อมและสั่งงานอุปกรณ์เสริมอย่าง ไฟ Studio และแฟลชแยก ได้ดีมากๆ แต่ โหมด M เป็นโหมดที่เราต้องตั้งค่า
ที่เกี่ยวกับความสว่างทั้ง 3 ค่าของกล้องเอง คือ 1. ค่า ISO (ค่าความไวแสง), 2. ค่า Speed Shutter, 3. ค่า รูรับแสง F
โดยมี มาตรวัดแสดงความสว่าง ช่วยให้สามารถตั้งค่าได้สว่างถูกต้องก่อนจะกดถ่าย
แต่จะมีระบบช่วยเหลือเราในตอนถ่ายน้อยกว่าโหมดอื่นๆ
- เรียนรู้การ ควบคุมและจัดการค่าต่างๆในกล้องทั้งหมดที่เรียนมา ให้ได้ตามโจทย์ คือ การละลายฉากหลังหากต้องการถ่ายคน
และการชัดทั้งภาพในการถ่ายวิว หรือจะเป็นการถ่ายภาพในที่มืดมาก แล้วได้รูปภาพที่สว่างพอดี
ผ่านเครื่องมือ มาตรวัดแสดงความสว่าง ของกล้อง
และการชัดทั้งภาพในการถ่ายวิว หรือจะเป็นการถ่ายภาพในที่มืดมาก แล้วได้รูปภาพที่สว่างพอดี
ผ่านเครื่องมือ มาตรวัดแสดงความสว่าง ของกล้อง
- เรียนรู้การถ่ายภาพด้วย โหมด A (หรือใน Canon เรียก Av) เข้าใจจุดเด่นจุดด้อยและประโยชน์ ของการใช้งาน โหมด A
- เรียนรู้การถ่ายภาพด้วย โหมด S (หรือใน Canon เรียก Tv) เข้าใจจุดเด่นจุดด้อยและประโยชน์ ของการใช้งาน โหมด S
- เรียนรู้การถ่ายภาพด้วย โหมด P เข้าใจจุดเด่นจุดด้อยและประโยชน์ ของการใช้งาน โหมด P
- ทำไมจึงต้อง ทำการวัดแสง (Metering) ส่งผลการควบคุมความสว่างของภาพอย่างไร
- เรียนรู้การเลือกระบบ การวัดแสง (Metering) ในแต่ละแบบ และระบบวัดแสงแบบไหนที่นิยมใช้มากที่สุด
- ทำไมจึงต้องทำการ ชดเชยแสง เวลาเกิดรูปมืดหรือรูปสว่างเกินไป ส่งผลต่อภาพอย่างไร
- เรียนรู้การเทคนิคการ ชดเชยแสงและการวัดแสง ในแต่ละภาพอย่างมืออาชีพ
- เรียนรู้การกำหนดค่าโทนสีที่จะใช้แสดงผลจากการปรับ White Balance (สมดุลย์แสงขาว) ให้เหมาะสมกับสถานะการณ์
- เรียนรู้การกำหนดค่าโทนสีที่จะใช้แสดงผล ที่กล้องแต่ละตัวมีให้ โดยใช้คำสั่ง Creative Style / Picture Style
เพื่อให้ได้โทนสีภาพที่เหมาะสม เช่น โทนสีถ่ายคน โทนสีถ่ายวิว โทนสีสดใส โทนสีขาวดำ
เพื่อให้ได้โทนสีภาพที่เหมาะสม เช่น โทนสีถ่ายคน โทนสีถ่ายวิว โทนสีสดใส โทนสีขาวดำ
- เรียนรู้วิธีกำหนด รูปแบบในการบันทึกไฟล์รูปภาพ ของกล้องทั้ง 2 แบบ Jpeg และ RAW File
- เรียนรู้วิธีกำหนด คุณภาพของรูป Jpeg (Standard, Fine, Extra Fine ) และ ขนาดไฟล์ Jpeg (S, M, L)
- เรียนรู้ข้อดีข้อเสียและประโยชน์ที่ได้รับจากการบันทึกไฟล์รูปภาพแบบ RAW File
* เนื้อหาการเรียนการสอนทั้งหมดได้รวบรวมส่วนที่จำเป็น เมื่อท่านต้องนำไปใช้ในสถานะการณ์จริง